การวางแผนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา EP.6

252 จำนวนผู้เข้าชม  | 

การวางแผนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา EP.6

วิธีคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ตามกฎหมายไทยจะคิดเป็นรายปีปฎิทิน โดยต้องใช้ทั้ง 2 วิธีคู่กันแล้วเลือกใช้วิธีที่คำนวณแล้วเสียภาษีสูงกว่า


วิธีที่ 1 คำนวณจากเงินได้สุทธิ และคิดอัตราภาษีก้าวหน้าแบบขั้นบันได
วิธีที่ 2 คำนวณภาษีจากเงินได้พึงประเมิน แบบเหมาที่อัตราภาษี 0.5%

การคำนวณภาษีตัวอย่างที่ 1
นาย ก. เป็นพนักงานบริษัท รายได้ต่อเดือน (มาตรา40(1)) 60,000 บาท เป็นคนโสด มีภาระผ่อนบ้าน

โดยเสียภาษีดอกเบี้ยบ้านเดือนละ 10,000 บาท

มีเบี้ยประกันชีวิตต่อปี 30,000 บาท

เบี้ยประกันสุขภาพ 20,000 บาท

มีกองทุนสำรองเลี้ยงชีพที่บริษัทหักไว้ตลอดปี 24000 บาท และ

ถูกหักเงินประกันสังคมต่อปี 9000 บาท

และถูกบริษัทหักภาษี ณ.ที่จ่ายไว้แล้ว 5000 บาท

นาย ก. ต้องเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาเท่าใด..


คำนวณตามวิธีที่ 1
เงินได้ (มาตรา40(1)) - เงินสะสมกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ - ค่าใช้จ่าย - หักค่าลดหย่อน = เงินได้สุทธิ
720,000 - 14,000 - 100,000 - 60,000 - 30,000 - 20,000 - 100,000 - -10,000 - 9,000 = 377,000
ดังนั้น นาย ก. มีเงินได้สุทธิ 377,000 บาท


ภาษีที่ต้องจ่าย

0-150000                      ได้รับการยกเว้นภาษี
150,001-300,000 บาท  เสียภาษี (5%)   7,500 บาท
300,001- 377,000         เสียภาษี (10%) 7,700 บาท
รวมภาษีที่ต้องจ่าย 15,200 บาท


คำนวณตามวิธีที่ 2 ใช้กับเงินได้ประเภทอื่นที่ไม่ใช้ มาตรา 40(1)

ดังนั้น นาย ก. ไม่ต้องคำนวณภาษีด้วยวิธีนี้
สรุปว่า นาย ก.เสียภาษี 15,200 บาท แต่ นาย ก. ถูกหักภาษี ณ.ที่จ่าย ไปแล้ว 5,000 บาท ดังนั้น นาย ก.

เสียภาษีทั้งหมด 7,200 บาท

Powered by MakeWebEasy.com